วันจันทร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

สถานีรถไฟบ้านโป่ง 2488

ภาพถ่าย สถานีรถไฟบ้านโป่ง เดือนกันยายน 2488
สถานีรถไฟบ้านโป่งอยู่ห่างจากสถานีหนองปลาดุก 5 กิโลเมตร เป็นจุดแรกเริ่มของการเดินเท้าของการก่อสร้างเส้นทางรถไฟไทย-พม่า ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 นักโทษเชลยศึกสงครามที่เดินทางมาจากสิงค์โปร์ต้องมาสิ้นสุดที่ สถานีรถไฟบ้านโป่ง หลังจากนั้น พวกเชลยศึกจะเริ่มต้นเดินเท้า มาที่ค่ายของพวกเขาตามเส้นทางก่อสร้างรถไฟ บางคนโชคดีเดินทางระยะสั้นโดยรถบรรทุก แต่ที่เดินเท้ามามากที่สุด ได้แก่ กองกำลังเอฟ ("F" Force) ถูกบังคับให้เดินเป็นระยะทางกว่า 300 กิโลเมตร โดยกินระยะเวลาเพียงแค่ 20 วัน การเดินเท้าส่วนมากจะเดินในตอนกลางคืน เพื่อหลีกเหลี่ยงอากาศที่ร้อนจัดของเดือนมีนาคม
ที่มา : เจ พี. (______). เส้นทางรถไฟสายมรณะ สะพานข้ามแม่น้ำแคว. (หน้า 11)
อ่านต่อ >>

วันอาทิตย์ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

ตลาดน้ำดำเนินในอดีต

ตลาดน้ำดำเนินสะดวกในอดีต
เจ้าของภาพ : ณรงค์ชัย อิมราพร
ที่มา : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 29)
อ่านต่อ >>

เรือพระที่นั่ง เสด็จประพาสต้น ร.5


ขบวนเสด็จประพาสต้น รัชกาลที่ 5
ในทุ่งเขางู จ.ราชบุรี
ภาพจากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
เจ้าของภาพ : หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
อ่านเพิ่มเติม : พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับราชบุรี
ที่มา : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 28)
อ่านต่อ >>

รถเมล์โบราณ

เจ้าของภาพ : ศูนย์วัฒนธรรม โรงเรียนเบญจมราชูทิศ
ที่มา : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 25)

อ่านต่อ >>

ไห สินค้าหลักของราชบุรี

ก่อนราชบุรีจะผลิตโอ่งมังกร ไหถือเป็นสินค้าหลักที่ส่งไปขายตามโรงงานทำน้ำปลา
เจ้าของภาพ : สำนักมิสซัง สังฆมณฑลราชบุรี
ที่มา : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 202)
อ่านต่อ >>

หนึ่งในพระยามอญทั้งเจ็ด

หนึ่งในพระยามอญทั้งเจ็ด-พระบันนสติฐบดี (ชัง)
เจ้าเมืองท่าขนุน คนสุดท้าย
เจ้าของภาพ : ผู้ใหญ่ขจิต หลักคงคา
อ่านเพิ่มเติม : วัดคงคารามและพระยามอญทั้งเจ็ด
ที่มา : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 119)
อ่านต่อ >>

การทำเหมืองดีบุกที่บ่อคลึง

การทำเหมืองดีบุกที่บ่อคลึง ใช้วิธีการแบบเหมืองแล่น แยกแร่ออกจากหินดินทรายในรางแร่
เจ้าของภาพ : เทอดศักดิ์ โมนยะกุล
ที่มา : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 88)
อ่านต่อ >>

เรือสมัยใหม่ในลุ่มน้ำแม่กลองเมื่อครั้งก่อน

เจ้าของภาพ : ณรงค์ชัย อิมราพร
ที่มา : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 81)
อ่านต่อ >>

หลวงสิทธิเทพการ คหบดีคนสำคัญของบ้านโป่ง

เมื่อเอ่ยหลวงสิทธิเทพการ หลวงสารเทพกิจ คนราชบุรีรุ่นเก่าๆ ต้องรู้จักเป็นอย่างดี ในภาพผู้ชายแต่งชุดขาว ถือไม้เท้าและหมวก คือ หลวงสิทธิเทพการ หรือ กิมเลี้ยง วังตาล คหบดีคนสำคัญของบ้านโป่ง
เจ้าของภาพ : มนัส-วรนุช พงษ์วัฒนา
ที่มา : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 78)
อ่านต่อ >>

วันอาทิตย์ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

โคกมดตะนอย

สภาพบ้านลาวโซ่ง ที่โคกมดตะนอยในดำเนินสะดวก เมื่อครั้งมิชชันนารีเข้ามาขี่ม้าปักธงแดง จองพื้นที่
เจ้าของภาพ : สำนักมิสซัง สังฆมณฑลราชบุรี

ที่มา : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 83)
อ่านต่อ >>

ภาพเก่าบ้านโป่ง

ขบวนแห่ศพของคุณสุกานดา วังตาล ผ่านถนนทรงพล กลางเมืองบ้านโป่งเมื่อ 30 กว่าปีที่แล้ว
เจ้าของภาพ : มนัส-วรนุช พงษ์วัฒนา

น้ำท่วมบ้านโป่ง ไม่ทราบว่าปีใด
เจ้าของภาพ : ผู้ใหญ่สอางค์ พรหมอินทร์

หมู่ข้าราชการถ่ายภาพร่วมกันหน้าโรงเรียนเทศบาล 1 บ้านโป่ง เข้าใจว่าจะถ่ายในยุคจอมพล ป. เพราะทุกคนสวมหมวกตามคำสั่งท่านผู้นำ
เจ้าของภาพ : ยายฉวีรัตน์ เกษตรศิริ


รถดับเพลิงของเทศบาลเมืองบ้านโป่งลงไปสูบน้ำที่ริมฝั่งน้ำแม่กลองหน้าเมือง คงถ่ายก่อนจะมีการสร้างเขื่อนหน้าเมือง
เจ้าของภาพ : ยายฉวีรัตน์ เกษตรศิริ


ที่มา : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 82-83)
อ่านต่อ >>

ศาลารัฐบาลมณฑลราชบุรี

คณะบาทหลวงที่มาเยือนเมืองราชบุรีเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2477 ได้ถ่ายภาพร่วมกับข้าราชการ หน้าที่ทำการศาลารัฐบาลมณฑลราชบุรี ซึ่งปัจจุบันคือ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี
เจ้าของภาพ : สำนักมิสซัง สังฆมณฑลราชบุรี
ที่มา : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 76-77)
อ่านต่อ >>

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ผู้นำพาความเจริญให้แก่ราชบุรี กระทั่งชาวจีนในย่านตัวเมืองยังทำแผ่นป้ายวิญญาณท่านไว้เป็นที่เคารพกราบไว้ เพื่อรำลึกในบุญคุณของท่าน
เจ้าของภาพ : หอสมุดแห่งชาติ
ที่มา : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 71)

บทความที่เกี่ยวข้อง
-สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)


อ่านต่อ >>

ตลาดและเทศบาลบ้านโป่ง

เจ้าของภาพ : ผู้ใหญ่สอางค์ พรหมอินทร์

เจ้าของภาพ : ยายฉวีรัตน์ เกษตรศิริ

ที่มา :
-สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 24).

บทความที่เกี่ยวข้อง
-โจรปล้นสิบครั้ง ไม่เท่าไฟไหม้บ้านโป่งครั้งเดียว
อ่านต่อ >>

วันเสาร์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

งานรัฐธรรมนูญ

งานรัฐธรรมนูญที่ราชบุรี ไม่ทราบว่าปีใด แต่คงเป็นช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
เจ้าของภาพ : สำนักมิสซัง สังฆมณฑลราชบุรี

นางงามราชบุรี ที่มักจัดประกวดในช่วงงานรัฐธรรมนูญของทุกปี ยังคงนุ่งโจ่ง ห่มสไบ
เจ้าของภาพ : ธรรมนูญ คำสุนทร

ผู้คนแออัดยัดเยียดบนสะพานจุฬาลงกรณ์ เพื่อมาเที่ยวงานรัฐธรรมนูญ
เจ้าของภาพ : ณรงค์ชัย อิมราพร



ที่มา : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 80-81).
อ่านต่อ >>

วันเสาร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

งานศพหลวงปู่เข็ม หรือพระครูไชยคิรีศรีสวัสดิ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดม่วง

งานศพหลวงปู่เข็ม หรือพระครูไชยคิรีศรีสวัสดิ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดม่วง ที่คนมอญให้ความเคาระนับถืออย่างมาก ว่ากันว่าในงานศพของท่านมีลิเก ปี่พาทย์ มาแสดงร่วมงานมากเป็นประวัติการณ์ถึง 36 คณะ
อ่านบทความเพิ่มเติม : วัดคงคารามและพระยามอญทั้งเจ็ด
ที่มา :
ข้อมูล : สุดารา สุจฉายา.(2541). ราชบุรี. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี. (หน้า 121)
เจ้าของภาพ : พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดม่วง
อ่านต่อ >>